แบบที่ ๖ โจ๊กคำผวน
โจ๊กคำผวน คือ โจ๊กปริศนาที่ทายคำตอบออกมาแล้ว ต้องมีการสลับเสียงสระระหว่างพยางต้นกับพยางค์สุดท้าย หรือสลับเสียงสระระหว่างพยางค์ที่สองกับพยางค์สุดท้ายก่อน ( ถ้ามี 4 พยางค์ ) จึงจะกลายเป็นคำตอบที่มีความหมายอย่างแท้จริง
โจ๊กคำผวนแนวนอนระยะที่ 1 คำตอบทุกบรรทัดมีพยางค์ไม่เท่ากัน ดังตัวอย่าง
— โคลง 670
โจ๊กคำผวนแนวนอนระยะที่ 2 คำตอบทุกบรรทัดจะต้องมีพยางค์เท่ากัน ดังตัวอย่าง
— โคลง ?671
โจ๊กคำผวนแนวนอนระยะที่ 3 ?คำตอบทุกบรรทัดมีพยางค์เท่ากัน ทุกคำตอบจะบังคับเสียงสระในพยางค์หลังสุด ทั้งการผวนคำตอบในครั้งแรกและคำตอบที่แท้จริงในครั้งหลัง อาจจัดให้เป็นโจ๊กคำผวนแนวนอนแบบพ้องคำหน้าก็ได้
— โคลง 672
โจ๊กคำผวนแนวนอนระยะที่ ?4 คำตอบทุกบรรทัดมีพยางค์เท่ากัน ทุกคำตอบจะเล่นอักษรในพยางค์หลังสุดของการผวนคำในครั้งแรกและคำตอบที่แท้จริงในครั้งหลังอาจจัดให้เป็นโจ๊กคำผวนแนวนอนแบบพ้องคำหลังก็ได้
— โคลง 672
— โคลง 673